TH  |  EN

20 โมเดลไล่ช้างอัจฉริยะ (AI 20 Hertz Model) โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ๒

20 โมเดลไล่ช้างอัจฉริยะ (AI 20 Hertz Model) โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ๒ https://www.youtube.com/watch?v=CL14kL0ukBA&ab_channel=NatthanichaChirapornpisit โครงงาน โมเดลไล่ช้างอัจฉริยะ (AI 20 Hertz Model). รายชื่อผู้จัดทำโครงงาน :    1) นางสาวณัฏฐาณิชา จิราพรพิสิฐ e-mail nchirapornpisit@gmail.com2) นางสาวศลิสา สุขเจริญ e-mail: salisa.th48@gmail.com3) นางสาวธัญลักษณ์ สนั่นเมือง e-mail: thunyarlux8625@gmail.com4) นางสาวปริญาภัทร ด้วงต่าย e-mail: give.priyapat@gmail.comครูที่ปรึกษาโครงงาน :นางมณฑกานต์ มาลา e-mail: montakan@ben2.ac.thนางสาวสุวรรลี บินสเล e-mail: suwanlee@ben2.ac.thสถานที่ทำงาน : โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์๒ จังหวัดฉะเชิงเทรา 24000บทคัดย่อการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนโมเดลไล่ช้างอัจฉริยะ (AI 20 Hertz Model) และทดสอบประสิทธิภาพของโมเดลไล่ข้างอัจฉริยะ (AI 20 Hertz Model) … Read more

21 ระบบตรวจวัดอุณหภูมิไร้สัมผัส และเช็คชื่อก่อนเข้าชั้นเรียนอัตโนมัติด้วยการตรวจจับใบหน้า โรงเรียน ปายวิทยาคาร

21 ระบบตรวจวัดอุณหภูมิไร้สัมผัส และเช็คชื่อก่อนเข้าชั้นเรียนอัตโนมัติด้วยการตรวจจับใบหน้า โรงเรียน ปายวิทยาคาร ระบบตรวจวัดอุณหภูมิไร้สัมผัส และเช็คชื่อก่อนเข้าชั้นเรียนอัตโนมัติด้วยการตรวจจับใบหน้า. Attendance register via the automatic contactless thermal and facial detector ผู้จัดทำ นายชนะชัย ชำนาญหมอ , นายธีรภัทร ศักดิ์ภิรมย์ และ นางสาวกุลธิดา จองส่า โรงเรียนปายวิทยาคาร อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแม่ฮ่องสอน Email : thanawat.nd@gmail.com บทคัดย่อ โครงงานเรื่อง “ระบบตรวจวัดอุณหภูมิไร้สัมผัส และเช็คชื่อก่อนเข้าชั้นเรียนอัตโนมัติด้วยการตรวจจับไบหน้า” มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพัฒนาหาประสิทธิภาพของระบบตรวจวัดอุณหภูมิไร้สัมผัสและระบบเช็ดชื่อก่อนเข้าชั้นเรียน ด้วยการตรวจจับใบหน้โดยใช้แผงดวบคุมขนาดเล็ก (Microcontrollar) ควบคุมอุปกรณ์เซนเซอร์ต่าง ๆ ในการสร้าง เครื่องวัดอุณหภูมิไร้สัมผัสจากนั้นนำมาผสมผสานกับแนวคิดการยืนยันตัวตนด้วยใบหน้า เพื่อบันทึกเวลาในการเข้า เรียนของนักเรียนจนเกิดเป็นโครงงานระบบตรวจวัดอุณหภูมิไร้สัมผัสและเช็ดชื่อก่อนเข้าชั้นเรียนอัตโนมัติด้วยการ ตรวจจับใบหน้า จากผลการทดสอบประสิทธิภาพเครื่องดังกล่าว ผลการวัดประสิทธิภาพและความแม่นยำของการตรวจจับ ใบหน้า จำนวนดน 15 คน คนละ … Read more

22 ระบบพ่นสารสกัดจากใบน้อยหน่า โรงเรียนห้องสอนศึกษาในพระอุปถัมภ์ ฯ

22 ระบบพ่นสารสกัดจากใบน้อยหน่า โรงเรียนห้องสอนศึกษาในพระอุปถัมภ์ ฯ โครงงานเรื่องระบบพ่นสารสกัดจากใบน้อยหน่าเพื่อขับไล่ศัตรูพืชของกะหล่ำปลีAnnona seed extract spray system to repel cabbage pests. ผู้จัดทำ นาย ฐปกร บุญมาลา นายเกียรติยศ เลาซาง และ นางสาวสุทธิดา ไม่มีซื่อสกุล บทคัดย่อ โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการทำงานของบอร์ด KidBright และพัฒนาต้นแบบเครื่องพ่นสารสกัด ที่มีการนำเซนเซอร์และบอร์ด KidBrightมาสั่งการทำงานของระบบพ่นสารสกัดจากใบน้อยหน่า โดยจะพ่นสารสกัดจากใบน้อยหน่าทุกๆ 1อาทิตย์ โดยมมีการเปิดน้ำจากก๊อกน้ำจนกว่าเซนเซอร์วัดความชื้นในดินจะมีค่าถึงที่ได้กำหนด คือถ้าค่าความชื้นในดินต่ำกว่า750ระบบจะทำการพ่นน้ำ และเมื่อมีความชื้นมากกว่า750ระบบจะทำการหยุดพ่นน้ำ หลังจากนั้น เราจะมีเซนเซอร์วัดการนำไฟฟ้าของ น้ำฝน 

23 Smart farm โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์

23 Smart farm โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์ https://www.youtube.com/watch?v=UJ6XAsu_CaY&ab_channel=MalikeeMasaejuenarong ชื่อโครงงาน (smart farm)นาย มาลีกี มะแซจือนารง ระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ 5.นาย นาวาวี บาโงสะตู ระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ 5นาย มูฮัมหมัดอนัส เด็ง ระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ 5ครูที่ปรึกษา นายอีหมาด คาเร็งสถานที่ศึกษา โรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์บทคัดย่อรูปแบบโครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ออกแบบและพัฒนาระบบบริหารจัดการฟาร์มไก่ เพื่อสามารถบริหารจัดการกับงานที่เหมาะสมกับการทำงาน และเพื่อช่วยลแรงานอีกด้วย จัดเก็บข้อมูล ให้เป็นระบบระเบียบ และค้นหาได้สะดวกรวดเร็วและเพิ่มความสะดวกในการทำงานของเรา การพัฒนาระบบบริหารจัดการงานในฟาร์ม นี้ดำเนินการวิเคราะห์และออกแบบระบบ โดยใช้โปรแกรม บอร์ด (kidbright) ในการจัดการฐานข้อมูลและการประมวลผลข้อมูล จากการพัฒนาระบบว่าระบบสามารถจัดการข้อมูลพื้นฐาน เช่น ระบบจัดการให้อาหาร ระบบการให้น้ำ ระบบการระบายอากาศ ระบบเปิดปิดไฟในฟาร์ม ระบบการล้างมูลของไก่ นอกจากนี้ โครงงาน ฟาร์มเลี้ยงไก่อัตโนมัติ จัดทำขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อไม่ให้ยุ่งอยากในการเลี้ยงดูและประหยัดเวลาในการใช้ชีวิตประจำวันของเราโครงงานฟาร์มเลี้ยงไก่อัตโนมัตินี้เป็นโครงงานสมัยใหม่โดยที่พัฒนาระบบเพื่อสั่งการผ่านเทคโนโลยีได้ ไม่เสียเวลา ลดกำลังแรงและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ผลปรากฎว่า โครงงาน ฟาร์มเลี้ยงไก่อัตโนมัติสามารถใช้งานได้จริง โดยวิธีทำงานจะสั่งผ่าน kidbright แล้วส่งข้อมูลไปที่ อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกับโครงงานนี้ เพื่อสั่งการให้ฟาร์มเลี้ยงไก่อัตโนมัตินี้ทำงานตามข้อมูลที่ได้รับ 

25เครื่องกดเจลอัตโนมัติ (Automatic hand sanitizer dispenser) โรงเรียน พีระยานาวินคลองหินวิทยา

25เครื่องกดเจลอัตโนมัติ (Automatic hand sanitizer dispenser) โรงเรียน พีระยานาวินคลองหินวิทยา เครื่องกดเจลอัตโนมัติ Automatic hand sanitizer dispenser. ผู้จัดทำ นาซนีน เฮงตาแก๊ะ’”ฮันนาน นิยมเดชา’ ติณณา เต๊ะหมะ’ ฮานัน กามารี’ อาอีเสาะ โตะโยะ’ บทคัตย่อ โครงงานสิ่งประดิษฐ์นี้จัดทำขึ้นเพื่อออกแบบและสร้างเครื่องกตเจลอัตโนมัติไว้ใช้งานภายในบริเวณโรงเรียน วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ประกอบด้วย Utrasonic Sensor ปั๊มน้ำดีซี และบอร์ต KidBight โดยมีหลักการทำงาน เมื่อ Ultrasonic Sensor ตรวจจับวัตถุได้ในระยะน้อยกว่ 10 เซนติเมตร บอร์ด KdBight จะสั่งเปิดการทำงานของปั๊มน้ำดีซีเพื่อปล่อยเจลแอลกอฮอล์ และในกรณีที่ Uttrasonic Sensor ตรวจจับวัตถุต้ในระยะมากกว่าหรือเท่ากับ 10 เซนติเมตร ปั๊มน้ำดีซีจะไม่มีการปล่อยเจลแอลกอฮอล์ออกมาผลการทดลองพบว่า เมื่อมีวัตถุหรือฝ้ามือเข้าใกล้ซเซอร์ในระยะที่กำหนดจะมีเจลแอลกอฮอล์ปล่อยลงบนฝ้ามือสำหรับการล้างมือ และเครื่องกดเจลอัตโนมัตินี้สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริง 

26 หุ่นยนต์ขนส่งทางการแพทย์ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์นราธิวาส

26 หุ่นยนต์ขนส่งทางการแพทย์ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์นราธิวาส หุ่นยนต์ขนส่งทางการแพทย์ Medical transport robot จัดทำโดย : นายสหรัถ แวชู นายนาวิน หอมจู นายณัฐพล ทองบุญ และ นายสมิทธิ์ ประยงค์แย้ม โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์นราธิวาส Premyuda2526@hotmail.com บทคัดย่อ. ตั้งแต่เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ในช่วงต้นปี 2563 จนถึงปัจจุบัน เป็นช่วงเวลาที่นักนวัตกรทั่วโลกไม่ หยุดคิดคันนวัตกรรมที่ทำหน้าที่ป้องกันการติดเชื้อ รวมถึง หุ่นยนต์ขนส่งทางการแพทย์ (Medical transport robot) โดยมี วัตถุประสงค์หลักคือ เพื่อลดการสัมผัสที่ไม่จำเป็นกับผู้ป่วย ลดอัตราการติดเชื่อ ลดความเสี่ยงจากผู้ป่วย และเพื่อแบ่งเบา ภาระของบุคลากรทางการแพทย์ การทำงานจะขนส่งอาหารและเวชภัณฑ์ ไปยังเตียงผู้ป่วย รวมทั้งการนำกลับโดยการบังคับ ผ่านมือถือ มีการตรวจวัดอุณหภูมิ พ่นเจลแอลกอฮอล์ แล้วแจ้งเตือนผ่านแอพลิเคชั่นไลน์ กล้องวงจรปิดสามารถติดต่อ สอบถามอาการของผู้ป่วยได้ตลอดเวลา จากผลการทดลอง สรุปได้ว่ หุ่นยนต์ทางการแพทย์ทำงานได้ถูกต้องและแม่นยำ ตามที่กำหนด ทั้งการแจ้งเตือนผ่านแอพลิเคชั่นไลน์ และ การสอบถามข้อมูลผ่านกล้องวงจรปิด … Read more

27 Smart Septic Tank โรงเรียน ขุนยวมวิทยา

27 Smart Septic Tank โรงเรียน ขุนยวมวิทยา https://www.youtube.com/watch?v=9-fzzRaa9ew&ab_channel=%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C%E0%B8%84%E0%B9%8D%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7 ชื่อเรื่อง Smart Septic Tank.ชื่อ นายมนัส ชนะวรากร , นายบรรลือศักดิ์ คำเขียว, นายชัชชัย ปัญญานาย ,นายก้องภพ ยงทองจรัสกุลโรงเรียนขุนยวมวิทยา อำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่อนสอน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแม่ฮ่องสอนบทคัดย่อโครงงาน Smart Septic Tank นี้เป็นการพัฒนาระบบเครื่องทำหมักปุ๋ยอัตโนมัติอย่างง่ายที่สามารถทำงานได้โดยอัตโนมัติตามเงื่อนไขที่ตั้งไว้โดยไม่ต้องใช้สวิตซ์ สั่งงานโดยบอร์ต KidBright ซึ่งเป็นสมองกลฝังตัวรูปแบบหนึ่งผ่านโปรแกรมKid Bright IDE ที่สามารถควบคุมความชื้น อุณหภูมิของถังหมัก มีระบบควบคุมการหมุนและคนผสมปุ๊ยหมักอัตโนมัติ และใช้ระบบควบคุมมอเตอร์อัตโนมัติในการตั้งเวลาและเซ็นเซอร์ตรวจวัดความชื้น จากการทดสอบการทำงานของระบบ พบว่า มีประสิทธิภาพสามารถใช้งนต้จริง และเมื่อทตลองศึกษา พัฒนาต่อยอต โครงงากับเครื่องใช้ไฟฟ้าและมอเตอร์อื่น ๆ อาทิเช่น เครื่องพ่นละอองปุ๋ยหมักอัตนมัติ พบว่าสามารถนำไปประยุกต์ใช้ต้ มีประสิทธิภาพ สามารถใช้เป็นต้นแบบในการพัฒนาหรือประยุกต์ให้สามารถใช้งานได้อย่างหลากหลายและมีประสิทธิภาพสูงขึ้นได้ต่อไป 

28 ระบบการพ่นน้ำในโรงเรือนเห็ดแบบแนวตั้ง โรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ 51 จังหวัดบุรีรัมย์

28 ระบบการพ่นน้ำในโรงเรือนเห็ดแบบแนวตั้ง โรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ 51 จังหวัดบุรีรัมย์ https://www.youtube.com/watch?v=Jk3vAU_8W0Y&ab_channel=nutchareeonnamkhum โครงงาน : ระบบการพ่นน้ำในโรงเรือนเห็ดแบบแนวตั้ง Vertical Mushroom Plant Water Spraying Systemจัดทำโดย นางสาวรุ่งทิวา พูนประโคน นางสาวชิรญาณ์ ประเสริฐ นายสุตนันท์ ตุยาใส และนายศรัณยู หวัดสูงเนินโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๑ จังหวัดบุรีรัมย์ สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศadmin@rpk51.ac.th บทคัดย่อ ในการจัดทำโครงงานออกแบบระบบการพ่นน้ำในโรงเรือนเห็ดแบบแนวตั้ง เพื่อแก้ปัญหาให้นักเรียนกลุ่มอาชีพเพาะเห็ดที่มีภาระงานและไม่มีเวลามาดูแสโรงเรือนเห็ด โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างโรงเรือนเห็ดระบบพ่นน้ำแบบแนวตั้ง และเพื่อศึกษาการนำบอร์ด Kidbright มาใช้ในการควบคุมระบบการพ่นน้ำแบบแนวตั้ง มีกระบวนการทำงานโดยวัดความชื้นภายในโรงเรือนเห็ดด้วยเซ็นเซอร์ตามคำสั่งที่กำหนดในคำสั่งจากบอร์ด Kidbright และใช้แปพลิเคชั่น Blink เพื่อดูการทำงานของระบบพ่นน้ำในโรงเรือนเห็ดพบว่า ระบบสามารถทำงานตามเงื่อนไขที่ต้องการและบรร วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ เมื่อเซนเซอร์ตรวจวัดอุณหภูมิในโรงเพาะเห็ดสูงเกินกว่า 30 องศาเซลเซียส จะสั่งให้ระบบพ่นน้ำแนวตั้งทำงาน และเมื่ออุณหภูมิต่ำกว่า 30 องศาเซลเซียส จะสั่งให้ปั๊มน้ำหยุดการทำงานและพบว่าจาการให้น้ำอย่างสม่ำเสมอและครอบคลุมทั้งโรงเรือนเห็ด จะได้ปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นและลดภาระในการดูแลโรงเรือนเห็ดของนักเรียน 

29 โรงเพาะเมล็ดและอนุบาลต้นกล้าระบบอัจฉริยะ โรงเรียน สังวาลย์วิทยา

29 โรงเพาะเมล็ดและอนุบาลต้นกล้าระบบอัจฉริยะ โรงเรียน สังวาลย์วิทยา โรงเพาะเมล็ดและอนุบาลต้นกล้าระบบอัจฉริยะ โดย. นายณัฐธพงษ์ เลิศอนันต์วิมล นายภูวดล หยกสิริกุลกิตติ นางสาวจันทภา ดวงปูนันท์ นางสาวปิยวรรณ มีความกล้า ครูที่ปรึกษาโครงงาน นายวิสิทธิ์ ทองแก้ว นางสร้อยฟ้า ขยันงาน โรงเรียนสังวาลย์วิทยา ที่มาและความสำคัญของโครงงาน ชุมชนบ้านแม่เหาะเป็นชุมชนที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร ซึ่งพืชส่วนใหญ่ที่ทำการเกษตรเป็นพืชทางเศรษฐกิจ อาทิเช่น กะหล่ำปลี ในการทำการเกษตร เกษตรกรจะก่อนจะประสบปัญหาในค้านของการเพาะมล็ดพันธุ์ เมล็ดพันธุ์บางชนิดมีอัตราการงอกต่ำ มีระยะพักตัวของเมล็ดนาน อีกทั้งหมู่บ้านแม่เหาะตั้งอยู่ในพื้นที่ที่สูงจากระดับทะเลมากกว่า 1,000 เมตร อากาศขึ้นเย็น มีเมมหมอกปกคลุมตลอดทั้งปีสภาพสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสมต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์ เกษตรกรจึงต้องซื้อต้นกล้าจากแหล่งอื่นเพื่อนำมาปลูกเป็นการเพิ่มต้นทุนในการการเกษตร อีกทั้งโรงเรียนสังวาลย์วิทยาเป็นโรงเรียนศูนย์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีฐานการเรียนรู้ ฐานปลูกผักตามรอยพ่อ ผักที่นักเรียนปลูก อาทิเช่น เบบี้คอส ฮ่องเต้ ผักสลัด ซึ่งเวลานักเรียนปลูกผักต้องซื้อกล้าปลูกจากแหล่งอื่นเช่นเดียวกันคณะผู้จัดทำโครงงานจึงจัดทำ โครงงาน เรื่อง โรงเพาะเมล็ดและอนุบาลต้นกล้ำระบบอัจฉริยะโดยจัดทำโรงเพาะเมล็ดและอนุบาลต้นกล้าของพืชศรษฐกิจแต่ละประเภทที่สามารถควบคุมสภาพแวคล้อมในโรงเพาะเมล็ดให้เหมาะสมต่อการงอกและการเจริญเติบโตของเมล็ดพัน ธุ์แต่ละ ชนิด โดยอาศัยระบบการสื่อสารไร้สายเป็นสื่อกลางและ ช่องทางในการควบคุมปัจจัยต่างที่เกี่ยวข้องกับการงอกของเมล็ค รวมทั้งปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตเพื่ออนุบาลกล้พืชก่อนย้ายปลูกอีกด้วย